วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2558

การชำระหนี้แบบเดือนต่อเดือนและการผ่อนชำระเรือยางเป็นรายงวด

ทีนี้พอถึงเวลาชำระหนี้ หรือไม,มีเงินจ่ายหนี เจ้าหนีกำลังจะมายึด ทรัพย์ ก็ฃึ้นกับว่าถ้าหนีนันมาจากเรืองส่วนตัวก็ต้องยึดทรัพย์เฉพาะตัวคนก่อ หนี้ก่อน เมือไม,พอจึงให้ชำระด้วยสินสมรสที,เป็นส่วนของฝ่ายนั้น เช่น ถ้ามี บ้านเป็นสินสมรสแล้วสามีไปก่อหนี้ส่วนตัวแต่ทำให้บ้านโดนยึด คู่สมรสอีก ฝ่ายหนึ่งก็สามารถขอให้ศาลแยกสินสมรสส่วนของตนออกมาก่อน ด้วยการ ขายบ้านแล้วขอเงินคืนครงหนึ่งในส่วนที่เป็นของตนคืนได้
ทีนี้ถ้าสามีที่เป็นลูกหนี้เกิดหัวหมอไปขอจดทะเบียนหย่าแล้วลงบันทึก การหย่าว่ายกสมบัติทั้งหมดให้ภรรยา เพื่อป้องกันการตามมายึดบ้านหลังที่ เป็นสินสมรส คดีที่เคยเกิดขึ้นแบบนี้นั้น ปรากฏว่าศาลได้สืบพยานหลักฐาน ทั้งหมดแล้วมีคำลังสรุปได้ว่า การจดทะเบียนหย่ากันโดยที่ทั้งคู่ได้สมรู้ร่วมคิด กันเป็นการกระทำโดยการสมยอม ด้วยการแสดงเจตนาลวงเช่นนี้ ไม่มีผล ผูกพันต่อเจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอก ในเรื่องนี้เจ้าหนี้จึงสามารถยึดบ้าน พร้อมที่ดินแปลงดังกล่าวออกขายทอดตลาดได้ แต่ว่าเมื่อขายได้เงินมาแล้ว จะต้องกันเงินที่ขายได้ออกครึ่งหนึ่งเพื่อคืนให้แก่ภรรยา เพราะว่าภรรยาไม่ใช่ ลูกหนี้ เจ้าหนี้จึงยึดได้แต่ส่วนของสามีเท่านั้น  เรือยางลำใหญ่
บทสรุปท้ายนี้คงต้องบอกว่า การครองชีวิตครอบครัวจะต้องระมัด ระวังเรื่องการก่อหนี้สินให้ดี เพราะถ้าอีกฝ่ายไปก่อหนี้ขึ้นมา อาจจะมีผล กระทบถึงคู,สมรสและความสงบสุขของครอบครัวได้ ดูจากรายงานจาก สำนักงานสถิติแห่งชาติ ที่เพิ่งเผยตัวเลขไปเมื่อเร็วๆ นี้ว่า ลังคมไทยกำลังเจอ กับปัญหาการจดทะเบียนหย่าเพิ่มสูงขึ้น โดยมีสาเหตุหลักมาจากปัญหาการ ใช้จ่ายและหนี้สินภาคครัวเรือนที่สูงขึ้น
ทวีคูณกลายเป็นความผิดทางอาญาฐานฉ้อโกงเจ้าหนี้ ไม่ว่าจะโดยเจตนาหรือ รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ตาม แถมเจ้าหนี้ยังสามารถฟ้องเพิกถอนการโอนทรัพย์ให้ ผู้รับโอนคืนมาเป็นของลูกหนี้เพื่อการยึดทรัพย์ใดในท้ายที่สุดอยู่นั่นเอง
เรื่องนี้มีข้อจำกัดอยู่นิดเดียวตรงที, การฟ้องเพิกถอนการโอนดังกล่าว เพื่อทำให้ทรัพย์กลับมาเป็นของลูกหนี้ เจ้าหนี้ต้องดำเนินการภายใน 1 ปีนับ แต่ทราบเรื่อง ไม,อย่างนั้นมีสิทธิ้คดีหมดอายุเหมือนกัน ซึ่งส่วนใหญ่เจ้าหนี้ที่ โดนเบี้ยวหนี้แล้วยังมาเจอลูกหนี้หัวหมออึกยักซ่อนเร้นแบบนี้ ส่วนใหญ่ก็มัก ไม่อยากทวงหนี้อย่างเดียวแล้ว ยังแถมข้อหาฟ้องคดีอาญาฐานโกงเจ้าหนี้เพิ่ม ให้อีกกระทงหนึ่งด้วย ซึ่งความผิดฐานโกงเจ้าหนี้นั้นมือัตราโทษจำคุกไม,เกิน สองปี หรือปรับไม่เกิน สี่พันบาท หรือทั้งจำและปรับ ซึ่งการดำเนินคดีอาญา กับลูกหนี้นี้ ทางเจ้าหนี้ต้องแจ้งความร้องทุกข์ต่อเจ้าพนักงานตำรวจ หรือฟ้อง ร้องคดีภายใน 3 เดือนนับแต่กันที่ทราบเรื่อง
เรื่องย้ายทรัพย์สินหนีแบบนี้ ถ้าคนที,โดนศาลลังพิพากษายึดทรัพย์ แล้ว ทำเนียน'ไม่รู้1ไม่ชี้ รีบเอาของที่ตนเองมีไปขายให้คนอื่นที่ไม่รู้เรื่องอะไรด้วย คนที่รับซื้อไปนี้กฏหมายก็ให้ความคุ้มครองในฐานะเป็นบุคคลภายนอก ถือว่า ซื้อหุ้นหรือทรัพย์นั้นต่อจากลูกหนี้มาโดยสุจริต จ่ายเงินซื้ออย่างถูกต้อง เจ้า หนี้จะตามไปอึดทรัพย์นั้นไม่ได้ ยกเว้นแต่ว่า ลูกหนี้ไปยกให้โดยเสน่หา เรือยางสูบลม  เช่น โอนหุ้นให้บุคคลภายนอกเฉยๆ ไม,ได้ซื้อขายกัน แบบนี้กฎหมายไม,คุ้มครอง เพราะถือว่าไม่ได้เสียค่าตอบแทนในการได้มา ทรัพย์หรือหุ้นที่ยกให้ไปนั้นก็มี สิทธิ''ถูกเจ้าหนี้ฟ้องเพิกถอนตามไปเอาทรัพย์นั้นคืนได้อยู่นั่นเอง 
ใครได้อ่านข่าวแล้วก็คงได้แต่เศร้าใจ อยากเป็นกำลังใจให้พ่อแม่ที่เป็น หนี้แก้ไขปัญหาหนี้สินได้ไวๆ จะได้ไม่พาให้ครอบครัวลูกเต้าต้องบ้านแตก สาแหรกขาดไปด้วยเลย เพราะถึงจะมีหนี้มีสิน แต่ถ้ายังมีแรงใจจากคนใกล้ ตัวก็คงตั้งต้นชีวิตใหม่ได้ในลักวันหนึ่ง ดีกว่าต้องรับมือกับหนี้เครียดๆอยู่คน เดียว ไม่เชื่อลองไปถามลูกหนี้หลายคนทีกลับมาลืมตาอ้าปากได้อีกครั้ง ส่วน ใหญ่ก็บอกว่าเพราะยังมีครอบครัวให้การสนับสนุนอยู่ทั้งนั้นนั่นเอง
ใช่ว่าจะมีแต่ฝ่ายลูกหนี้เท่านั้น ที่คิดออกนอกลู่นอกทาง เรื่องเล่าขาน ตำนานฉ้อฉลของคนเป็นเจ้าหนี้ก็มีอยู่ไม,ใช่น้อย ยกตัวอย่างกันให้เห็นเป็น กรณีที1เคยเกิดขึ้นเลยดีกว่า เช่น เจ้าหนี้ที่เป็นเจ้าของบ้านเช่า ซึงให้เช่าเซ้ง บ้านโดยมีสัญญากันเป็น 10 ปี และมีนัดต้องชำระค่าเช่าบ้านนั้นเป็นราย เดือนนอกเหนือจากค่าเซ้งงวดแรก อยู่มาวันหนึ่งเจ้าหนี้เกิดมีไอเดียจะเอาที่ไป ทำศูนย์การค้าที,น่าจะมีรายได้เป็นกอบเป็นกำมากกว่า แต่ไม่รู้จะยกเลิก สัญญาเซ้งบ้านที่ยังเหลืออยู่อีกตั้งหลายปีกับผู้ให้เช่าได้อย่างไร ก็เลยออก อุบายตื้นๆ แอบหนีไปต่างจังหวัดเสียหลายวันตอนใกล้เวลาส่งเงินค่าเช่า หวัง จะเอาข้อนี้เป็นเหตุฟ้องขับไล่ลูกบ้าน โดยการอ้างข้อหาว่าลูกหนี้ผิดนัดไม่มา ชำระหนี้ตามสัญญา
การที่ลูกหนี้ผิดนัดโดยเกิดจากการที่เจ้าหนี้ไม่รับชำระหนี้ของลูกหนี้ หรือเจ้าหนี้ปฏิเสธการชำระหนี้ คือไม่ยอมรับชำระหนี้ กรณีนี้ถือว่าเจ้าหนี้ตก เป็นผู้ผิดนัดตามป.พ.พ.มาตรา 207 ทีบัญญัติว่า เรือยางไวนิล  ถ้าลูกหนี้ขอปฏิบัติการ
ลองดูวิธีแก้ลำของฝ่ายลูกหนี้กันอีกตัวอย่างหนึ่งจากกรณีที่เคยเกิดขึ้น จริง ลูกหนี้นำที่ดินไปขอจำนองเอาเงินจากนายทุนเงินกู้ผู้อารี สมัยที่ทำ จำนองกันนั้นที่ดินยังเป็นเพียงที่รกร้างสนนราคาไม,น่าสนใจอะไร แต่ต่อมา เกิดล้มหล่นใส'มีการตัดถนนตัดทางด่วนมาเฉียดใกล้ที่แปลงนั้น ทำให้ราคาพุ่ง ขึ้นหลายเท่าตัว บวกกับนายทุนอายุมากเข้าก็เกิดถึงแก่กรรมไปโดยไม่ทันได้ สั่งเสียใคร ลูกหลานของนายทุนผู้อารีก็เลยเกิดความอยากได้ตามประสา พา กันออกอุบายเล่นซ่อนหา ลูกหนี้เอาเงินค่าดอกเบี้ยมาชำระให้ทีไรเป็นอันไม่ได้ อยู่บ้านสักที หรือเจอหน้าก็แกล้งบ่ายเบี่ยงบอกไม่รู้ว่าหน้าที่ใครในการรับเงิน ค่าดอกเบี้ยจำนอง ปล่อยให้เลยเวลากำหนดล่งค่างวดไปนานโข เพื่อจะได้หา ทางยึดที่จำนองนั้นเป็นของตน


เรือยาง

เครื่องดักฟังอุปกรณ์นักสืบให้ลูกจ้างในหน่วยราชการ



  เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ บำเหน็จ เบี้ยหวัด หรือรายได้อื่นใน ลักษณะเดียวกันของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ หรือลูกจ้างในหน่วยราชการ และ เงินสงเคราะห์ บำนาญ หรือบำเหน็จที่หน่วยราชการได้จ่ายให้แก่ดู่สมรสหรือ ญาติที่ยังมีชีวิตของบุคคลเหล่านัน
 เงินเดือน ค่าจ้าง บำนาญ ค่าชดใช้ เงินสงเคราะห์ หรือรายได้อื่น ในลักษณะเดียวกันของพนักงาน ลูกจ้าง หรือคนงาน นอกจากทีกล่าวไว้ในที่นายจ้างจ่ายให้แก'บุคคลเหล่านัน อุปกรณ์ดักฟัง  หรือคู่สมรส หรือญาติทียังมีชีวิตของ บุคคลเหล่านั้น เป็นจำนวนรวมกันไมเกินเดือนละหนึ่งหมื่นบาท หรือตาม จำนวนที่ศาลเห็นสมควร เงินฌาปนกิจสงเคราะห์ที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาได้รับอันเนื่องมา แต่ความตายของบุคคลอื่นเป็นจำนวนตามที'จำเป็นในการดำเนินการ ฌาปนกิจศพตามฐานะของผู้ตายที,ศาลเห็นสมควร ในกรณีทีศาลเป็นผู้ กำหนดจำนวนเงินตาม  และ ให้ศาลกำหนดให้ไม่น้อยกว่าอัตราเงิน เดือนขั้นตาสุดของข้าราชการพลเรือนในขณะนั้นและไม่เกินอัตราเงินเดือนขั้น สูงสุดของข้าราชการพลเรือนในขณะนั้น โดยคำนึงถึงฐานะในทางครอบครัว ของลูกหนี้ตามคำพิพากษาและจำนวนบุพการีและผู้สืบลันดานซึ่งอยู่ในความ อุปการะของลูกหนี้ตามคำพิพากษาด้วยในกรณีที1เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจออกคำลังอายัดตามมาตรา  ดักฟังโทรศัพท์  วรรคสอง ให้เจ้าพนักงานบังคับคดืมีอำนาจกำหนดจำนวนเงินตามและให้นแลำความในวรรคสองมาใช้บังคับแก่การกำหนดจำนวนเงิน ตาม  และ โดยอนุโลม แต่ถ้าเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา ลูกหนี้ตามคำพิ- พากษา หรือบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดีไม่เห็นด้วยกับ จำนวนเงินที่เจ้าพนักงานบังคับคดีกำหนด บุคคลดังกล่าวอาจยื่นคำร้องต่อศาลภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่ได้ทราบถึงการกำหนดจำนวนเงินเช่นว่านั้น เพื่อขอให้ศาลกำหนดจำนวนเงินใหม่ได้ในกรณีทีพฤติการณ์แห่งการดำรงชีพของลูกหนีตามคำพิพากษาได้ เปลียนแปลง1ไป บุคคลตามวรรคสามจะยื่นคำร้องให้ศาลหรือเจ้าพนักงาน บังคับคด้ แล้วแต่กรณี กำหนดจำนวนเงินตาม  และ  ใหม่ก็ได้คำล'งของศาลทีเกี่ยวกํบการกำหนดจำนวนเงินตามมาตรานี้ให้  ระบบดักฟัง อุทธรณ์ไปบังศาลอุธรโนได้และคำพิพากษาหรือคำส์งฃองศาลอุธรณ์ให้ เป็นที่สุนอกจากกฎหมายตามกี่ได้คัดมาใหัอ่านคันข้างด้นนแล้ว ยัจฮเรื่อง สำคัญกี่ลูกหนตองทราบอีกก็คือ      ในกรณีถูกอายัดเงินเดือน ถ้าเงินเดือนของลูกหนี้ไม,เกินหนึ่งหมื่น บาท เจ้าหนี้ไม่สามารถยึดได้ ตาม ป.วิ แพ่ง มาตรา    ถ้าเงินเดือนเกิน อาจถูกยึดได้ในอัตราร้อยละ 30 ของเงินเดือน แต่ เหลือแล้วต้องไม'น้อยกว่าหนึ่งหมื่นบา ถ้ามีเจ้าหนี้หลายราย การอายัดเงินเดือน เจ้าหนี้จะอายัดได้ทีละ หนึ่งราย อายัดซ้ำไม'ได้ ตาม ป.วิ แพ่ง มาตรา 290และถ้าถูกอายัดเงินเดือนแล้ว เงินเหลือไม่พอใช้ ให้ไปยื่นคำร้องต่อ ศาลขอให้ยกเลิกการอาบัดหรือขอให้ลดจำนวนเงินอาบัด ตาม ป.วิแพ่ง มาตรา 286 วรรคสาม ภายใน า5 วัน นับแต่วันที่ถูกอายัดการบังคับคดีตามคำพิพากษานี้ มีกำหนดเวลา 10 ปี นับแต่ศาลมี คำพิพากษาลูกหนี้ส่วนใหญ่มักจะกลัวเจ้าหนี้มาอายัดเงินเดือน ซึ่งเป็นจุดอ่อนของ ลูกหนี้ที'เจ้าหนี้หรือพนักงานทวงหนี้มักใช้เรื่องอายัดเงินเดือนนี้มาฃ่มขู่ลูกหนี้ กันอยู่เสมอ ซึ่งความจริงแล้ว ถ้าทางทางฝ่ายลูกหนี้ที,กินเงินเดือนทำความ เข้าใจกับตัวบทกฎหมายนี้ให้ซัดเจน จะพบว่า กฎหมายยังให้ความปรานีกับ ลูกหนี้


เครื่องดักฟัง